วิธีการติดตั้งก๊อกน้ำ
อ่านเพิ่มเติม : ซ่อมท่อประปา
อ่านเพิ่มเติม : เปลี่ยนสายฝักบัวชำระ ได้ด้วยตัวเอง
อ่านเพิ่มเติม : การลอกวอลเปเปอร์และทาสีผนัง
อ่านเพิ่มเติม : ซ่อมท่อประปา
อ่านเพิ่มเติม : เปลี่ยนสายฝักบัวชำระ ได้ด้วยตัวเอง
อ่านเพิ่มเติม : การลอกวอลเปเปอร์และทาสีผนัง
No related posts.
สำหรับใครที่ไม่อยากเจอปัญหาปลวกขึ้นบ้าน บ้านและสวน School มีวิธีการ ป้องกันปลวก ขึ้นบ้านมาแนะนำ
รั้วที่สร้างตามแนวเขตที่ดินมักมี 2 ปัญหา คือ การสร้างล้ำเขตที่ดิน และสร้างรั้วสูงเกินไป ดังนั้นก่อนสร้างรั้วบ้านตัวเองหรือเมื่อเพื่อนบ้านสร้างรั้ว จึงควรดูไม่ให้ผิดกฎหมายทั้งเพื่อความปลอดภัยและเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง 1.รั้วที่ดิน รั้วบ้าน ต้องไม่ล้ำเขตที่ดิน รั้วที่ดิน รั้วบ้าน ต้องไม่ล้ำเขตที่ดิน เขตที่ดินในที่นี้คือทั้งใต้ดินและบนอากาศ ดังนั้นทั้งโครงสร้างฐานราก และส่วนต่างๆของรั้วต้องไม่เกินเขตที่ดิน จึงนิยมทำฐานรากรั้วด้วยฐานรากตีนเป็ด และการตั้งเสารั้วไม่เอียงล้ำแนวที่ดิน หากพบเห็นรีบแจ้งและเจรจากับเจ้าของที่ดิน แต่ถ้าตกลงกันไม่ได้ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สำนักงานที่ดินในพื้นที่นั้นๆ สำหรับกรณีการทำรั้วร่วมกันกับเพื่อนบ้าน จะใช้ฐานรากปกติโดยวางโครงสร้างรั้วไว้กึ่งกลางเส้นแบ่งที่ดิน โดยรับผิดชอบค่าก่อสร้างและการดูแลรักษาร่วมกัน 2.กฎหมายเรื่อง รั้วที่ดินรั้วบ้าน รั้วที่ดินรั้วบ้าน หรือกำแพงที่สร้างติดกับถนนหรือทางสาธารณะ รั้วนั้นจะสร้างได้สูงไม่เกิน 3 เมตร โดยวัดจากระดับทางเท้าหรือถนนสาธารณะ แต่ถ้าสูงเกินกว่า 3 เมตร ต้องเว้นระยะห่างจากเขตที่ดินไม่น้อยกว่าความสูงของรั้ว รั้วหรือกำแพงหัวมุมถนน รั้วหรือกำแพงที่อยู่มุมถนนสาธารณะ ซึ่งถนนกว้างตั้งแต่ 3 เมตรขึ้นไป และมีมุมหักน้อยกว่า 135 องศา ต้องปาดมุมให้มีระยะไม่น้อยกว่า 4 เมตร และทำมุมกับแนวถนนสาธารณะเป็นมุมเท่าๆ กัน ดังนั้นหากใครจะซื้อที่ดินหัวมุมถนนลักษณะดังกล่าว จะต้องเสียที่ดินส่วนมุมนั้นไป 3.สร้างรั้วต้องขออนุญาต รั้วถือเป็นสิ่งปลูกสร้าง กรณีสร้างรั้วติดกับถนนหรือที่ดินสาธารณะ ต้องทำการขออนุญาต […]
หลายคนอาจเคยสงสัยว่า ค่า Ft คืออะไร เหตุใดจึงต้องมาบวกอยู่ในค่าไฟฟ้าของเรา วันนี้บ้านและสวนชวนคุณมาทำความรู้จักกับค่า Ft กัน อัตราค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ หรือ ค่า Ft คืออะไร – Ft ย่อมาจาก Fuel Adjustment Charge (at the given time) ซึ่งเปลี่ยนมาจากความหมายเดิม คือ Float time หมายถึง การลอยค่าต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่ควบคุมไม่ได้ เช่น ราคาเชื้อเพลิง อัตราเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งตั้งแต่เดือนตุลาคม 2548 มีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยในการคำนวณสูตร Ft ให้คงเหลือเพียง ต้นทุนค่าเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. และค่าซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตเอกชนและประเทศเพื่อนบ้าน โดยมีสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เป็นผู้กำหนดราคาค่า Ft โดยค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บจากผู้ใช้ไฟฟ้าจะประกอบไปด้วย ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft + ภาษีมูลค่าเพิ่ม […]
บริษัท เอเอ็มอี อิมเมจิเนทีฟ จำกัด
ในเครือ บริษัท อมรินทร์ คอร์เปอเรชั่นส์ จำกัด (มหาชน)
Tel : 0-2422-9999 ต่อ 4220
Email : [email protected]
0-2422-9999 ต่อ 4180
(จันทร์ - ศุกร์ เวลา 09.00 - 18.00 น)
[email protected]