ClearView Power พลังงานสะอาดบนกระจกใส

ทุกๆพื้นผิวที่เป็นกระจกใสแต่ผลิตพลังงานสะอาดได้ พราะเทคโนโลยีอย่างที่ว่าได้เกิดขึ้นจริงๆแล้วในชื่อของ ClearView Power ถ้าหากว่าสิ่งเหล่านี้สามารถป้อนพลังงาน

3310 รุ่งอรุณใหม่ของ Nokia

คุณยังจำสมัยที่ออกจากบ้านโดยไม่ต้องพกสายชาร์ตโทรศัพท์ได้หรือเปล่า สมัยที่โยนโทรศัทพ์ไว้ในกระเป๋าโดยไม่ต้องมองไปครึ่งค่อนวัน

บ้านทรุด บ้านร้าว เกิดได้อย่างไร

บ้านทรุด เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ โดยเฉพาะจากก่อสร้างที่ไม่ได้มาตรฐาน ทั้งตรงชั้นดิน ฐานราก เสาเข็ม และจากการต่อเติม การก่อสร้างอาคารมีปัจจัยอีกมากมายที่ทำให้เกิดปัญหาในภายหลังได้หากการก่อสร้างเหล่านั้นทำไม่ได้มาตรฐาน ดังนั้นเราควรรู้ถึงปัจจัยต่างๆที่ทำให้บ้าน ทรุด แตก ร้าว จากสาเหตุในเรื่องชั้นดินและฐานรากซึ่งในบทความ “ บ้านทรุด บ้านร้าว บ้านล้ม : จน รวย ไม่เกี่ยว ” โดย รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ พอจะสรุปความได้ดังนี้ ปัญหาจากเสาเข็ม บ่อยครั้งที่ปัญหาบ้านแตก ร้าว และ บ้านทรุด เกิดขึ้นจากเสาเข็มที่ไม่ได้มาตรฐาน ทำให้การถ่ายเทน้ำหนักของโครงสร้างไม่เท่ากัน เป็นผลให้แรงดึงฉีกบ้านจนแตกร้าว โดยปัญหาที่มักพบกับเสาเข็มก็คือ เสาเข็มสั้นเกินไป การที่เสาเข็มลงไปไม่ถึงชั้นดินที่แข็งแรงพอทำให้เมื่อผ่านเวลาไปบ้านจึงทรุดลงไปจนกว่าจะถึงชั้นดินที่แข็งแรง หากทรุดไม่เท่ากันก็จะเกิดการแตกร้าวในที่สุดป้องกันได้โดยการตรวจสอบชั้นดินให้ดีเสียก่อน เสาเข็มวิบัติ การที่เสาเข็มไม่สามารถรับน้ำหนักอาคารได้ เกิดจากความผิดพลาดในขั้นตอนก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นอายุของเสาเข็ม หรือวิธีการตอกเสาเข็มที่ผิดพลาด รวมทั้งการต่อเสาเข็มที่ไม่ได้ศูนย์ก็จะทำให้เกิดความเสียหายในภายหลังได้ ป้องกันได้โดยตรวจสอบวิธีการก่อสร้างให้ถูกมาตรฐานไม่ลัดหรือดัดแปลงขั้นตอนจนเกิดความเสียหาย ปัญหาจากตอม่อ ตอม่อวิบัติ มักเกิดจากการก่อสร้างที่ไม่ได้มาตรฐานมีน้ำหรือดินท่วมในแบบหล่อหรือตอม่อแช่อยู่ในน้ำ นานวันเข้าจึงผุกร่อนเสื่อมสภาพเร็วก่อนเวลาอันควร อีกทั้งเหล็กที่เป็นสนิมยังบวมและดันให้คอนกรีตแตกออกได้ ตอม่อเยื้องศูนย์ เป็นการวางตำแหน่งเสาเข็มตอม่อ และฐานรากที่ผิดพลาด ทำให้ตอม่อถูกบิดและวิบัติจากการที่รับแรงซึ่งผิดไปจากการคำนวณ เป็นผลให้บ้านเกิดอาการทรุดในทางที่ตอม่อเยื้อง ปัญหาจากการถมดิน การเร่งถมดิน การถมดินจำเป็นจะต้องมีการรอให้ดินที่ถมมีการยุบตัว หากตอกเสาเข็มทันทีที่ถมเสร็จ […]

ช่างชุ่ย : สู่ขอบฟ้าใหม่ของชุมชนคนสร้างสรรค์

เรามีโอกาสได้พูดคุยถึงที่มาที่ไปของ ช่างชุ่ย ซึ่งยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง ลองมาฟังไอเดียการสร้างพื้นที่สุดสร้างสรรค์แห่งนี้พร้อมๆกันครับ

ถามคำตอบคำกับ “แล้วแต่… กะเพรา แท้ระดับโลก (เฮ้ย)”

“ข้าวผัด กะเพรา บวกไข่ดาว” จานด่วนที่เป็นทั้งเมนูยอดนิยม และสิ้นคิดในจานเดียวกัน เป็นเมนูที่เหมือนจะเรียบง่าย แต่แฝงไว้ด้วยรายละเอียดที่ลงตัว

2016 Beazley Design of the Year : Better Shelter บ้านก็ต้องคือบ้าน

A home away from home คือสโลแกนของ Better Shelter ที่พักกึ่งถาวรซึ่งสามารถถอดประกอบได้ อันเป็นความร่วมมือระหว่าง UNHCR กับ IKEA Foundation

10 งานออกแบบสะพานข้ามแม่น้ำที่ไม่ใช่เพียงแค่ทอดสะพานแล้วจบกัน

วันนี้ บ้านและสวนจะพาไปพบกับ 10 งานออกแบบสะพานข้ามแม่น้ำที่น่าสนใจ จะมีอะไรบ้างนั้น ลองไปดูกัน

ดูแลและซ่อมแซมลูกบิดประตูด้วยตัวเอง

หนึ่งในอุปกรณ์ที่ต้องใช้บ่อยที่สุดอย่างหนึ่งในบ้านก็คือ ลูกบิดประตู ไม่ว่าจะเดินเข้าเดินออกบ้าน ตลอดเวลาต้องถูกหมุน บิด เปิด หรือในยามที่เราไม่อยู่บ้าน

Alive: ตลอดมาของ Alex Face

“ก็ในเมื่อศิลปะมันเข้าถึงผู้คนยากนัก เราก็พาศิลปะออกไปพบผู้คนแทนเสียเลย” คำพูดของผู้ชายที่ยืนอยู่ในวงการ Street Art มานานกว่า 10 ปี Alex Face กลับมาพร้อมกับ ALIVE นิทรรศการใหม่ส่งท้ายปี 2559

ห้องเรียนพอดีพอดี บรรเทาวิกฤติด้วยโอกาส

“ห้องเรียนพอดีพอดี” คือความร่วมมือของสถาปนิกชื่อดัง 9 ท่าน ในการออกแบบสร้างโรงเรียน 9 แห่ง บนคำจำกัดความว่า “พอดี”

How it Works : Coffee Maker EP.2

วันนี้ How it Works จึงอยากจะขอพาท่านผู้อ่านไปรู้จักกับเครื่องกาแฟง่ายๆที่ชงกินเองได้ที่บ้านในหลากหลายวิธีการ คุณลักษณะ และรูปแบบ

How it Works : Coffee Maker

วันนี้ How it Works จึงอยากจะขอพาท่านผู้อ่านไปรู้จักกับเครื่องกาแฟง่ายๆที่ชงกินเองได้ที่บ้านในหลากหลายวิธีการ คุณลักษณะ และรูปแบบ