Destroy Dirty Thing
- ที่อยู่ : 112/1 หมู่ 5 ตำบลท่าศาลา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000
- เบอร์โทรศัพท์ : 09-4364-1652
- Facebook : Destroy Dirty Thing
- E-Mail : [email protected]
ความเจ็บป่วยในสัตว์เลี้ยงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกับความเจ็บป่วยของมนุษย์ แตกต่างกันตรงที่ สัตว์เลี้ยงไม่สามารถสื่อสารกับมนุษย์ได้โดยตรง โดยสัตวแพทย์ และคุณพ่อคุณแม่ต้องใช้วิธีการสังเกตอาการ เพื่อทำความเข้าใจกับปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น ซึ่งบางโรคก็ต้องพิจารณาอาการอื่นๆ ร่วมด้วย โดยเฉพาะ โรคระบบประสาทในสัตว์เลี้ยง เมื่อสัตว์เลี้ยงที่เจ็บป่วยเข้ามารักษากับสัตวแพทย์ การวินิจฉัยเบื้องต้นที่สัตวแพทย์มักใช้เป็นข้อบ่งชี้ว่าเป็น โรคระบบประสาทในสัตว์เลี้ยง หรือไม่ คือการพิจารณาอาการที่ผิดปกติ ร่วมกับระยะเวลาที่เกิดความผิดปกติ โดยอาการที่ร่างกายมักแสดงออกส่วนใหญ่จะเกิดความปกติของท่าทาง หรือการเคลื่อนไหว หลังจากพบความผิดปกติของการเคลื่อนไหว หรือท่าทาง สัตวแพทย์จะวินิจฉัยโรคในลำดับต่อไป เพื่อหาสาเหตุของความผิดปกติที่เกิดขึ้น ด้วยวิธีการตรวจทางระบบประสาท เพื่อกำหนดตำแหน่งของจุดที่ผิดปกติ แล้วเลือกวิธีการรักษา หรือวินิจฉัยเพิ่มเติม และประเมินโรคที่อาจเกิดขึ้นต่อไป โรคระบบประสาทที่พบได้บ่อยในสัตว์เลี้ยง 1. ลมชัก หรือการชักในสัตว์เลี้ยง โรคลมชักในสัตว์เลี้ยง เป็นโรคระบบประสาทที่พบได้บ่อย และไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไร อาการชักสามารถเกิดขึ้นได้เฉพาะจุด เช่น กล้ามเนื้อใบหน้ากระตุก กระพริบตาเป็นจังหวะ หัวสั่น และกล้ามเนื้อขากระตุก ไปจนถึงระดับความรุนแรงที่อันตราย อย่างการชักเกร็งทั้งตัว และหมดสติ โดยสาเหตุการเกิดโรคลมชักในสัตว์เลี้ยงเป็นไปได้ทั้ง – กรรมพันธุ์ ที่ผ่านมา สัตวแพทย์พบว่า กรรมพันธุ์เป็นสาเหตุประมาณร้อยละ 60 ของการเกิดโรคลมชักในสัตว์เลี้ยง ซึ่งสัตว์เลี้ยงที่มีกรรมพันธุ์โรคลมชักจะแสดงอาการในช่วงอายุ 6 เดือน – […]
ทำอย่างไรจึงจะปลูกและดูแล ต้นกุหลาบ ให้มีอายุยืน ผลิดอกงดงามได้ตลอดทั้งปี มาเรียนรู้เทคนิคฉบับย่อกัน ที่ทำตามได้ง่ายๆ
สถาบันสอนศิลปะเก่าแก่กว่า 18 ปี Kolor Me ที่หลายคนเคยรู้จักในฐานะติวเตอร์วิชาศิลปะสำหรับสอบเอนทรานซ์ก็ได้ขยายหลักสูตรเปิดกว้างสำหรับเด็กๆตั้งแต่ 2 ขวบครึ่งขึ้นไป
บริษัท เอเอ็มอี อิมเมจิเนทีฟ จำกัด
ในเครือ บริษัท อมรินทร์ คอร์เปอเรชั่นส์ จำกัด (มหาชน)
Tel : 0-2422-9999 ต่อ 4220
Email : [email protected]
0-2422-9999 ต่อ 4180
(จันทร์ - ศุกร์ เวลา 09.00 - 18.00 น)
[email protected]