Tanachai Narathasajan (ธนะชัย นราธัศจรรย์)
- ที่อยู่: 36/4 ซอยปราโมทย์ ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพ 10500
- โทรศัพท์: 08-1811-3305
- Email: [email protected]
รวม 8 ต้นไม้รากไม่ทำลายโครงสร้าง ปลูกในสวนที่มีพื้นที่น้อยหรือจำกัดได้ สร้างร่มเงาได้ และดูแลไม่ยาก
บ้านทรงกล่อง ที่ยืนหยัดท่ามกลางความแตกต่างนี้ ทั้งในแง่ของสเกล ระยะทาง ความเร็ว เสียง และความสว่างไสว โดยมีบันไดวนทำหน้าที่ร้อยพื้นที่ภายในและภายนอก
วิธีก่อสร้าง รั้ว ให้แข็งแรง ทนทาน และใช้งานได้ยาวนานมีปัจจัยหลักๆ คือ สภาพดินและระดับดิน ในเบื้องต้นมีปัจจัยและชนิดของโครงสร้างรั้วต่างๆ ดังนี้ 1. ระดับความสูงดินสองฝั่งเท่ากัน กรณีที่ระดับดินของเราและเพื่อนบ้านสูงเท่ากัน และทำเป็นรั้วร่วมโดยแชร์ค่าใช้จ่ายกัน โดยสร้างทับแนวเขตที่ดิน สามารถใช้เสาเข็มต้นเดียวกันในฐานรากแต่ละอันได้ เป็นวิธีที่ประหยัดที่สุดและ รั้ว มีความสมดุลเพราะแรงดันของดินทั้งสองฝั่งเท่ากัน 2. ระดับดินแตกต่างกันไม่เกิน 60 เซนติเมตร ถ้าระดับดินแตกต่างกันไม่เกิน 60 เซนติเมตร หรือกรณีทำโครงสร้างรั้วอยู่ในเขตที่ดินของเรา โครงสร้างเช่นนี้ไม่สมดุลเหมือนกรณีแรก จึงต้องออกแบบเป็นฐานรากแบบตีนเป็ด (ยื่นเข้ามาในที่ดินของเราเพียงฝั่งเดียว) 3. ระดับดินแตกต่างกันมากกว่า 70 เซนติเมตร ถ้าระดับดินแตกต่างกันมากกว่า 70 เซนติเมตรขึ้นไป จำเป็นต้องใช้ฐานรากพิเศษ โดยเพิ่มคานดึงรั้งที่เรียกว่า “คานสเตย์” เพื่อไม่ให้กำแพงเอนล้มไปด้านที่ระดับดินต่ำกว่า อีกทั้งต้องออกแบบกำแพงกันดินทลายออกสู่ภายนอกด้วย สาเหตุและการแก้ไขกำแพง รั้ว เอียง 1. ก่อสร้างผิดวิธี หากการก่อสร้างไม่เหมาะสมกับสภาพที่ดินนั้นๆ เช่น การสร้างรั้วรอบที่ดินซึ่งมีระดับความสูง-ต่ำต่างกับที่ดินข้างเคียงมาก ถ้าช่างนำแบบก่อสร้างสำหรับรั้วทั่วไป (รั้วสำหรับที่ดินสองฝั่งสูงเท่ากัน) มาใช้งาน ก็จะทำให้รั้วเกิดอาการเอียงหรือแบะออกอย่างแน่นอน การแก้ไข ควรทำคานดึงรั้งที่เรียกว่า […]
บริษัท เอเอ็มอี อิมเมจิเนทีฟ จำกัด
ในเครือ บริษัท อมรินทร์ คอร์เปอเรชั่นส์ จำกัด (มหาชน)
Tel : 0-2422-9999 ต่อ 4220
Email : [email protected]
0-2422-9999 ต่อ 4180
(จันทร์ - ศุกร์ เวลา 09.00 - 18.00 น)
[email protected]